QR-CODE คืออะไร

ไม่มีความคิดเห็น

QR-Code (ย่อมาจาก Quick Response Code) เป็นชนิดของบาร์โค้ดเมทริกซ์ (หรือรหัสสองมิติ) ออกแบบครั้งแรกเพื่อใช้สำหรับอุตสาหกรรมยานยนต์ แต่เมื่อเร็ว ๆ นี้ระบบได้กลายเป็นที่นิยมของนอกอุตสาหกรรมเนื่องจากการอ่านอย่างรวดเร็วและความจุขนาดใหญ่เมื่อเทียบกับ รหัสประกอบด้วยโมดูลสีดำจัดอยู่ในรูปแบบตารางบนพื้นสีขาว ข้อมูลที่เข้ารหัสจะถูกสร้างขึ้นจากสัญลักษณ์ใด ๆ ของข้อมูล (เช่นสัญลักษณ์ไบนารีตัวอักษรและตัวเลขหรือคันจิ)
QR-Code สร้างขึ้นโดยโตโยต้า บริษัท เด็นโซ่เวฟในปี 1994 รหัส QR เป็นหนึ่งในประเภทที่นิยมที่สุดของบาร์โค้ดสองมิติ QR โค้ดถูกออกแบบมาเพื่อช่วยให้เนื้อหาที่จะถอดรหัสที่ความเร็วสูง เทคโนโลยีที่ได้เห็นและมีการใช้บ่อยในญี่ปุ่นและเกาหลีใต้ รวมถึง สหราชอาณาจักรเป็นประเทศที่อยู่ในลำดับที่ 1-7 ของโลก ที่มีผู้บริโภคใช้งาน QR-Code มากที่สุด
QR Code เป็นบาร์โค้ด 2 มิติแบบเมตริกซ์ที่ถูกพัฒนาขึ้นโดยบริษัท Nippon Densoประเทศญี่ปุ่นในปี 2537 สอดคล้องกับมาตรฐาน ISO/IEC 18004, JIS X 0510, JEIDA-55 และ AIM ITS/97/001 ISS-QR Code ลักษณะของบาร์โค้ดเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส มีโมดูลข้อมูล 21×21 ถึง 177×177 โมดูล สามารถบรรจุข้อมูลได้มากที่สุด 7,089 ตัวเลขหรือ 4,296 ตัวอักษร ข้อมูลเลขฐานสอง 2,953 ไบต์ และตัวอักษรญี่ป่น 1,817 ตัวอักษร รูปแบบค้นหาของ QR Code อยู่ที่มุมทั้งสามของบาร์โค้ด คือ มุมซ้ายบน มุมซ้ายล่าง และมุมขวาบน  QR Code ส่วนใหญ่ใช้ในงานที่ต้องการบรรจุข้อมูลจำนวนมากลงในบาร์โค้ดและต้องการอ่าน ข้อมูลจากบาร์โค้ดอย่างรวดเร็ว
 ตารางที่ 1 แสดงการเปรียบเทียบบาร์โค้ด 2 มิติชนิดต่างๆ
 บาร์โค้ด 2 มิติ
 
PDF417MaxiCode  Data MatrixQR Code 
 ผู้พัฒนา (ประเทศ) Symbol
Technologies
(สหรัฐอเมริกา)
 Oniplanar
(สหรัฐอเมริกา)
 RVSI Acuity
CiMatrix
 DENSO
 ประเภทบาร์โค้ด แบบสแต๊ก แบบเมตริกซ์  แบบเมตริกซ์  แบบเมตริกซ์
 ขนาดความจุข้อมูลตัวเลข  2, 710 138 3,116 7,089
 ตัวอักษร 1,850 93 2,355 4,296
 เลขฐานสอง 1,1018 - 1,556 2,953
 ตัวอักษรญี่ปุ่น 554 - 778 1,817
 ลักษณะที่สำคัญ- บรรจุข้อมูลได้มาก  - มีความเร็วในการอ่านสูง - บาร์โค้ดมีขนาดเล็ก
 - บาร์โค้ดมีขนาดเล็ก
- มีความเร็วในการอ่านสูง
- บรรจุข้อมูลได้มาก 
 มาตรฐานที่ได้รับ -ISO/IEC 15438
- AIM USS-PDF417
 -ISO/IEC 16023
-ANSI/AIM
BC10-ISS-MaxiCode
 - SIO/IEC 16022
ANSI/AIM
BC11-ISS-Data Maxtix
 - SIO/IEC 18004
- JIS X 0510
 JEUDA-55
- AIM ITS/97/001
ISS-QR Code
การนำเทคโนโลยีบาร์โค้ด 2 มิติมาใช้งาน
ตัวอย่างการใช้งานบาร์โค้ดแบบ QR Code
- ด้านอุตสาหกรรมยานยนต์ มีการติดบาร์โค้ดบนชิ้นส่วนอะไหล่ยนต์ต่างๆ เพื่อเก็บข้อมูลของอะไหล่ชิ้นนั้น เช่น ชื่อรุ่น รหัสอะไหล่ และประเภท
  ของอะไหล่ เป็นต้น
- ด้านกระบวนการผลิตสินค้ามีการติดบาร์โค้ด 2 มิติบนแผงวงจรอิเล็กทรอนิกส์ เก็บข้อมูลรายละเอียดต่างๆ ของแผงวงจรนั้น

ไม่มีความคิดเห็น :